ประเภทของเท้าแบน

จากผลการวิจัยของ Dr.Kong ประเทศฮ่องกง พบว่า อาการเท้าแบนที่พบในคนทั่วไป แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

เท้าแบนโดยโครงสร้าง Structural Flatfoot
เท้าแบนแบบ Functional Flatfoot

การดูแลอาการเท้าแบนแต่ละประเภทก็ไม่เหมื่อนกัน คนส่วนใหญ่อาจจะเข้าใจผิดว่าเท้าแบนมีประเภทเดียว และเข้าใจว่าต้องสวมรองเท้าที่เสริมอุ้งเท้าเท่านั้น ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง

ทางรองเท้าเพื่อสุขภาพ ด็อกเตอร์คอง จึงขอเสนอวิธีสังเกตว่าเป็นแบบไหน ให้ผู้ปกครองลองให้น้องยกนิ้วเท้าขึ้นทั้ง 2 ข้างตามรูปดู

ถ้ายกแล้วมีอุ้งเท้า ตามรูป เรียกได้ว่าเป็นเท้าแบนแบบ Functional

ถ้ายกแล้วไม่มีอุ้งเท้า ตามรูป เรียกได้ว่าเป็นเท้าแบนแบบ Structural

คำแนะนำ

ถ้าเป็นเท้าแบนแบบโดยโครงสร้าง การใส่รองเท้าที่เสริมอุ้งเท้า จะทำให้น้องเจ็บ รักษาได้โดยการฝ่าตัด และเลือกใส่รองเท้าที่มีความนุ่มสบายเท้า

ถ้าเป็น เท้าแบนแบบ Functional น้องสามารถสวมรองเท้าเพื่อสุขภาพ ด็อกเตอร์คองได้ เพราะรองเท้าเพื่อสุขภาพ ด็อกเตอร์คอง จะมีการเสริมอุ้งเท้าให้น้อง ทำให้น้องเดินและยืน สบายขึ้น ชีวิตประจำวันของน้องจะดีขึ้น และเมื่อร่วมกับการออกกำลังกายที่เสริมการบริหารอุ้งเท้าเช่น บาสเกตบอล หรือการใช้อุปกรณ์บริหารอุ้งเท้า(Arch Roller) จะช่วยให้น้องมีอุ้งเท้าขึ้นมาได้ เพราะอุ้งเท้านั้นมีความสำคัญอย่างมากต่อไปในอนาคต (ซึ่งจะกล่าวถึงความสำคัญของอุ้งเท้าในบทความถัดไป) อีกทั้งคุณสมบัติพิเศษของรองเท้าเพื่อสุขภาพ ด็อกเตอร์คอง จะช่วยพยุงข้อเท้าน้องให้อยู่ในแนวเส้นตรง จะช่วยให้เวลาน้องยืน หรือ เดิน ข้อเท้าจะอยู่ในแนวเส้นตรง การใส่รองเท้าเพื่อสุขภาพ ด็อกเตอร์คอง จะช่วยให้อาการเท้าแบนและข้อเท้าเอียงของน้องจะไม่แย่ไปกว่าเดิม เพราะถ้าคุณแม่ไม่ดูแลสุขภาพเท้าน้องตั้งแต่ตอนนี้ น้องก็จะมีอาการปวดขา และ เมื่อยขา ตลอดทั้งวัน